เนื่องจากผู้เขียนต้องรีบส่งงานวิจัยหลังทำงานเสร็จแล้วจัดหน้าเอกสารตามแบบฟอร์ม
วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2559
วิธีแก้การจัดหน้ากระจายแบบไทย (Thai distributed) พอปริ้นออกมาเกิดการฉีกคำ
วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
วิธีแก้ไอคอนหน้าจอเปลี่ยน
หากใช้งานโปรแกรมไปนานๆ อยู่มาเกิดไอคอนเปลี่ยนไปเป็นรูปกระดาษสีขาวหรืออื่นๆ จะแก้ไขยังไง จะใช้วิธีคลิ๊กเม้าส์ขวาแล้วเลือก Open with ก็ไม่สะดวก มีวิธีแก้ไขดังนี้
1.เข้าไปที่ Control panel -->เลือกที่ Programs ดังรูป
1.เข้าไปที่ Control panel -->เลือกที่ Programs ดังรูป
วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
การหาค่า t-test dependent ด้วย SPSS
t-test for dependent Samples ซึ่งมักพบในการวิจัยเชิงทดลองที่ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ได้จากการจับคู่
ตัวอย่าง ผู้วิจัยได้นำแบบฝึกที่สร้างขึ้นไปใช้กับนักเรียน โดยก่อนฝึกมีการทดสอบก่อนเรียน (Pre test) และหลังจากการใช้แบบฝึกหลังแลัวมีการทดสอบหลังเรียน (Post test) การวิเคราะห์ข้อมูลทำได้ดังนี้
1.ทำการกรอกข้อมูลลงใน SPSS ดังรูป
ตัวอย่าง ผู้วิจัยได้นำแบบฝึกที่สร้างขึ้นไปใช้กับนักเรียน โดยก่อนฝึกมีการทดสอบก่อนเรียน (Pre test) และหลังจากการใช้แบบฝึกหลังแลัวมีการทดสอบหลังเรียน (Post test) การวิเคราะห์ข้อมูลทำได้ดังนี้
1.ทำการกรอกข้อมูลลงใน SPSS ดังรูป
วันอาทิตย์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
การสร้างและวิเคราะห์แบบสอบถามด้วย spss
จากแบบสอบถามที่สร้างไว้แล้ว ให้ทำการกำหนดตัวเลขกำกับในแต่ละข้อว่าคืออะไร เวลาสร้างแบบสอบถามใน spss จะทำได้ง่าย
1.เปิดโปรแกรม SPSS ขึ้นมา แล้วคลิกที่แถบ Variable View จากนั้นใส่ชื่อตัวแปรและค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ตามแบบสอบถามที่ได้ออกแบบไว้
2.กดที่ปุ่มหมายเลข 1 จะแสดงแถบเมนู Value Labels ขึ้นมา เพื่อจะกำหนดค่าที่เราต้องการลงไป คือ 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง
3.ที่ช่อง Value ใส่เลข ที่ช่อง Label ใส่ข้อความที่ต้องการแสดงตามแบบสอบถาม จากนั้นกดปุ่ม Add เพื่อเพิ่มค่า ใส่จนครบตามต้องการ แล้วกดปุ่ม OK
1.เปิดโปรแกรม SPSS ขึ้นมา แล้วคลิกที่แถบ Variable View จากนั้นใส่ชื่อตัวแปรและค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ตามแบบสอบถามที่ได้ออกแบบไว้
2.กดที่ปุ่มหมายเลข 1 จะแสดงแถบเมนู Value Labels ขึ้นมา เพื่อจะกำหนดค่าที่เราต้องการลงไป คือ 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง
3.ที่ช่อง Value ใส่เลข ที่ช่อง Label ใส่ข้อความที่ต้องการแสดงตามแบบสอบถาม จากนั้นกดปุ่ม Add เพื่อเพิ่มค่า ใส่จนครบตามต้องการ แล้วกดปุ่ม OK
วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559
การนำทางด้วย Samsung Galaxy J7 (2015)
จากสเปคเครื่องของ Samsung Galaxy J7 ซึ่งเป็นโทรศัพท์ระดับกลาง ราคาไม่เกิน 10,000 บาท จะไม่มีเข็มทิศใส่มาให้ คำถามคือแล้ว Samsung Galaxy J7 จะนำทางได้อย่างไร คำตอบคือ Samsung Galaxy J7 สามารถนำทางได้โดยไม่ต้องหมุนโทรศัพท์ แม้จะไม่มี Sensor เข็มทิศติดมาให้ในตัวเครื่อง ซึ่งมีขั้นตอนการทำดังนี้
1.เปิดฟังก์ชัน ตำแหน่ง (GPS) และ ฟังก์ชัน ข้อมูลมือถือ ดังรูป
2.เข้าโปรแกรมแผนที่ (Google map) กดปุ่มเพื่อหาตำแหน่งปัจจุบัน (1) เมื่อได้ตำแหน่งปัจจุบันแล้วกดปุ่มเพื่อหาเส้นทางเป้าหมาย (2) ดังรูป
1.เปิดฟังก์ชัน ตำแหน่ง (GPS) และ ฟังก์ชัน ข้อมูลมือถือ ดังรูป
2.เข้าโปรแกรมแผนที่ (Google map) กดปุ่มเพื่อหาตำแหน่งปัจจุบัน (1) เมื่อได้ตำแหน่งปัจจุบันแล้วกดปุ่มเพื่อหาเส้นทางเป้าหมาย (2) ดังรูป
วันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2559
การตั้งชื่อหมู่ลูกเสือ
หมู่ลูกเสือสำรอง ตั้งชื่อหมู่เป็นสีต่างๆ เช่น แดง เขียว เหลือง น้ำเงิน ฯลฯ
หมู่ลูกเสือสามัญ ตั้งเป็นชื่อสัตว์ต่างๆ และใช้แถบสีประจำหมู่ ได้แก่
1. หมู่จระเข้ เขียว – น้ำตาล
2. หมู่เหยี่ยวชวา น้ำเงิน – เขียว
3. หมู่งูเห่า ส้ม – ดำ
4. หมู่นกพิราบ เทา – ขาว
5. หมู่นกต้อยตีวิด ส้ม – เทา
6. หมู่หมาใน เทา – ดำ
7. หมู่นาก น้ำตาล – ขาว
8. หมู่เสือเหลือง เหลือง – เหลือง
9. หมู่แกะ น้ำตาล – น้ำตาล
10. หมู่เสือ ดำ – ส้ม
11. หมู่ค้างคาว ดำ – น้ำเงินอ่อน
12. หมู่วัวกระทิง แดง – น้ำตาล
13. หมู่ไก่ น้ำตาล - แดง
14. หมู่นกอินทรี เขียว – ดำ
15. หมู่เยี่ยว ชมพู – ชมพู
16. หมู่นกกินปลา น้ำเงิน – น้ำเงิน
17. หมู่นกยูง เขียว – น้ำเงิน
18. หมู่กา ดำ – ดำ
19. หมู่หงส์ เทา – เลือดหมู
20. หมู่นกเขา น้ำเงิน – เทา
หมู่ลูกเสือสามัญ ตั้งเป็นชื่อสัตว์ต่างๆ และใช้แถบสีประจำหมู่ ได้แก่
1. หมู่จระเข้ เขียว – น้ำตาล
2. หมู่เหยี่ยวชวา น้ำเงิน – เขียว
3. หมู่งูเห่า ส้ม – ดำ
4. หมู่นกพิราบ เทา – ขาว
5. หมู่นกต้อยตีวิด ส้ม – เทา
6. หมู่หมาใน เทา – ดำ
7. หมู่นาก น้ำตาล – ขาว
8. หมู่เสือเหลือง เหลือง – เหลือง
9. หมู่แกะ น้ำตาล – น้ำตาล
10. หมู่เสือ ดำ – ส้ม
11. หมู่ค้างคาว ดำ – น้ำเงินอ่อน
12. หมู่วัวกระทิง แดง – น้ำตาล
13. หมู่ไก่ น้ำตาล - แดง
14. หมู่นกอินทรี เขียว – ดำ
15. หมู่เยี่ยว ชมพู – ชมพู
16. หมู่นกกินปลา น้ำเงิน – น้ำเงิน
17. หมู่นกยูง เขียว – น้ำเงิน
18. หมู่กา ดำ – ดำ
19. หมู่หงส์ เทา – เลือดหมู
20. หมู่นกเขา น้ำเงิน – เทา
วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2559
ระบบหมู่ (Patrol System)
หมู่ลูกเสือ ถือเป็นหน่วยรากฐานที่สำคัญในการดำเนินงานของกองลูกเสือ การจัดหมู่ลูกเสือเป็นการสร้างค่านิยมให้แก่เด็กที่อยู่ในวันเป็นลูกเสือ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการฝึกอบรมในเรื่องหน้าที่และความรับผิดชอบได้เป็นอย่างดี อีกทั้งมีคุณสมบัติพิเศษเป็นหน่วยที่มีประโยชน์โดยเฉพาะในทางปฏิบัติและการเล่นเกม สะดวกต่อการฝึกอบรม
1.ลูกเสือสำรอง/เนตรนารีสำรอง หมายถึง นักเรียนที่เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–3 ให้มีจำนวน 2-6 หมู่ หมู่ละ 4 - 6 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือสำรอง มีลูกเสือตั้งแต่ 8-36 คน
2.ลูกเสือสามัญ (Scout) /เนตรนารีสามัญ หมายถึง นักเรียนที่เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4–6 ให้มีจำนวน 2-6 หมู่ หมู่ละ 6 - 8 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือสามัญ มีลูกเสือตั้งแต่ 12-48 คน
ได้กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบภายในหมู่เป็นการถาวรดังนี้ (หมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่)
1. นายหมู่ลูกเสือ
2. รองนายหมู่ลูกเสือ
3. พลาธิการ
4. คนครัว
5. ผู้ช่วยคนครัว
6. คนหาฟืนหาน้ำ
7. ผู้ช่วยเหลือทั่วไป
(ถ้ามี 8 คน ให้เพิ่มผู้ช่วยคนหาฟืนหาน้ำ)
1.ลูกเสือสำรอง/เนตรนารีสำรอง หมายถึง นักเรียนที่เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–3 ให้มีจำนวน 2-6 หมู่ หมู่ละ 4 - 6 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือสำรอง มีลูกเสือตั้งแต่ 8-36 คน
2.ลูกเสือสามัญ (Scout) /เนตรนารีสามัญ หมายถึง นักเรียนที่เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4–6 ให้มีจำนวน 2-6 หมู่ หมู่ละ 6 - 8 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือสามัญ มีลูกเสือตั้งแต่ 12-48 คน
ได้กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบภายในหมู่เป็นการถาวรดังนี้ (หมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่)
1. นายหมู่ลูกเสือ
2. รองนายหมู่ลูกเสือ
3. พลาธิการ
4. คนครัว
5. ผู้ช่วยคนครัว
6. คนหาฟืนหาน้ำ
7. ผู้ช่วยเหลือทั่วไป
(ถ้ามี 8 คน ให้เพิ่มผู้ช่วยคนหาฟืนหาน้ำ)
วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
Tips ของ PowerPoint 2016
มุมมองการนำเสนอสไลด์
กดปุ่ม F5 จะเป็นการฉายสไลด์หน้าแรก ไม่ว่าเราจะเปิดใช้งานสไลด์หน้าไหนอยู่ก็ตาม พอกดปุ่ม F5 ปุ๊บ สไลด์หน้าแรกก็จะถูกฉายขึ้นมาทันที
กดปุ่ม Shift + F5 จะเป็นการฉายสไลด์หน้าที่เปิดใช้งานอยู่
กดปุ่ม Ctrl + L จะสามารถใช้ Laser Pointer ใน PowerPoint ได้
กดปุ่ม Ctrl + I จะเป็นปากกาไฮไลท์ (Highlight Pointer)
กดปุ่ม Ctrl + P จะเป็นปากกา (Pen)
กดปุ่ม Ctrl + E จะเป็นยางลบ (Eraser) จะใช้ได้เมื่อมีการเขียนด้วยปากกาหรือปากกาไฮไลท์แล้ว
กดปุ่ม Ctrl + A จะเปลี่ยนตัวชี้เป็นลูกศร
กดปุ่ม Ctrl + H จะซ่อนตัวชี้และปุ่มนำทางทันที
กดปุ่ม Ctrl + M จะแสดงหรือซ่อนมาร์กอัปที่เป็นหมึก
กดปุ่ม F5 จะเป็นการฉายสไลด์หน้าแรก ไม่ว่าเราจะเปิดใช้งานสไลด์หน้าไหนอยู่ก็ตาม พอกดปุ่ม F5 ปุ๊บ สไลด์หน้าแรกก็จะถูกฉายขึ้นมาทันที
กดปุ่ม Shift + F5 จะเป็นการฉายสไลด์หน้าที่เปิดใช้งานอยู่
กดปุ่ม Ctrl + L จะสามารถใช้ Laser Pointer ใน PowerPoint ได้
กดปุ่ม Ctrl + I จะเป็นปากกาไฮไลท์ (Highlight Pointer)
กดปุ่ม Ctrl + P จะเป็นปากกา (Pen)
กดปุ่ม Ctrl + E จะเป็นยางลบ (Eraser) จะใช้ได้เมื่อมีการเขียนด้วยปากกาหรือปากกาไฮไลท์แล้ว
กดปุ่ม Ctrl + A จะเปลี่ยนตัวชี้เป็นลูกศร
กดปุ่ม Ctrl + H จะซ่อนตัวชี้และปุ่มนำทางทันที
กดปุ่ม Ctrl + M จะแสดงหรือซ่อนมาร์กอัปที่เป็นหมึก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)